ลูกพัฒนาการช้าอย่างไรเข้าข่าย LD
เด็กที่เป็น LD แตกต่างจากเด็กสมาธิสั้นอย่างไร อ่านอาการ
โรคนี้เพิ่มเติมได้เลยค่ะ
เด็ก LD
หมายถึงเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ เนื่องจากมีความผิดปกติของระบบประสาทชนิดถาวร ทำให้สมองถูกจำกัดความสามารถในการเรียนรู้ การทำความเข้าใจ หรือการจดจำ และอาจพบร่วมกับโรคทางจิตเวชอื่น ๆ ได้ถึงร้อยละ 40-50 เช่น โรคสมาธิสั้น (ADHD) พ่อแม่อาจสังเกตสัญญาณของความผิดปกติจากการที่เด็กไม่สามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดได้นาน มีปัญหาในการพูด การอ่าน การเขียน การคำนวณ ส่งผลให้อาจมีทักษะในการเรียนรู้ด้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน ทั้งนี้ ความเอาใจใส่ของคนใกล้ชิดและการรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสมตั้งแต่เนิ่น ๆ อาจช่วยให้ผู้ป่วยเด็ก LD พัฒนาทักษะทางด้านต่าง ๆ ได้อย่างเต็มศักยภาพและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้เหมือนเด็กปกติ

อาการของเด็ก LD
กลุ่มอาการบกพร่องทางการเรียนรู้แบ่งเป็นหลายชนิดตามความบกพร่องทางทักษะด้านต่าง ๆ ส่งผลให้เด็ก LD แสดงอาการผิดปกติแตกต่างกันไป ดังนี้
1.ความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว (Dyspraxia) คือความบกพร่องของทักษะการเคลื่อนไหวและการประสานงานระหว่างสมองกับอวัยวะเป้าหมาย เด็กอาจใช้งานช้อนส้อมหรือดินสอลำบาก ผูกเชือกรองเท้าด้วยตนเองไม่ได้ พูดติดขัด เคลื่อนไหวลูกตาลำบาก ร่างกายไวต่อแสง การสัมผัส รสชาติ หรือกลิ่น เป็นต้น
2.ความบกพร่องด้านการคำนวน (Dyscalculia) คือความบกพร่องของทักษะทางคณิตศาสตร์ เด็กอาจจดจำตัวเลข ตารางสูตรคูณ นับเลข หรือแก้โจทย์ปัญหาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้ช้าหรือทำไม่ได้เลย
ความบกพร่องด้านการเขียน (Dysgraphia) อาจมีปัญหาด้านการเขียนหนังสือ การสะกดคำ และไม่สามารถคิดและเขียนไปพร้อมกันได้
3.ความบกพร่องด้านการใช้ภาษา (Dyslexia) คือความบกพร่องของทักษะการตีความภาษา ส่งผลให้มีปัญหาในการอ่านหรือการเขียน เด็กอาจอ่านหนังสือไม่ได้หรืออ่านได้ช้า จับใจความเรื่องที่อ่านไม่ได้ หรือไม่สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเขียนหรือการพูด
4.ความบกพร่องด้านการฟัง เด็กได้ยินเสียงเป็นปกติแต่ไม่สามารถตีความได้ ส่งผลให้อาจมีปัญหาในการอ่าน แยกแยะเสียงไม่ได้ จดจำคำพูดไม่ได้ หรือไม่ปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ยิน
5.ความบกพร่องด้านการมองเห็น เด็กอาจขาดทักษะในการตีความข้อมูลภาพ ทำให้แยกแยะความแตกต่างระหว่างสิ่งของ 2 สิ่งไม่ได้หรือทำได้ช้า หรือตากับมือเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน
อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองหรือคนใกล้ชิดที่พบว่าบุตรหลานมีสัญญาณของความบกพร่องทางการเรียนรู้ต่อไปนี้
- มีปัญหาในการจดจำข้อมูล การอ่าน การเขียน การคำนวณ และทำการบ้านเองไม่ได้ ผู้ปกครองต้องช่วยทำทุกครั้ง
- เข้าใจความคิดที่เป็นนามธรรมได้ยาก
- ม่ใส่ใจรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ทว่าบางรายอาจช่างสังเกตและให้ความสนใจต่อสิ่งต่าง ๆ มากเกินไปได้เช่นกัน
- ขาดทักษะการเข้าสังคม
- ไม่เข้าใจและไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำหรือคำสั่งสอน
- อวัยวะต่าง ๆ เคลื่อนไหวไม่ประสานงานกัน ทำให้อาจมีปัญหาในการเดิน เล่นกีฬา จับดินสอ หรือใช้ช้อนส้อม
-ไม่เข้าใจแบบแผนของเวลา
- ทำของใช้ส่วนตัวหายเป็นประจำ
- แสดงพฤติกรรมต่อต้านหรือมีอารมณ์ก้าวร้าวที่โรงเรียน
-ไม่อยากไปโรงเรียน ไม่ยอมทำการบ้านหรือกิจกรรมที่ต้องใช้ทักษะบางประการ เช่น การอ่าน การเขียน การคำนวณ เป็นต้น
ถ้าบุตรหลานของท่านมีอาการตามที่ได้อ่านมา สามารถฟื้นฟูอาการเด็ก LD ได้
สอบถามปรึกษา โทร 085 2574183 คุณอัญชลี
โรคนี้เพิ่มเติมได้เลยค่ะ
เด็ก LD
หมายถึงเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ เนื่องจากมีความผิดปกติของระบบประสาทชนิดถาวร ทำให้สมองถูกจำกัดความสามารถในการเรียนรู้ การทำความเข้าใจ หรือการจดจำ และอาจพบร่วมกับโรคทางจิตเวชอื่น ๆ ได้ถึงร้อยละ 40-50 เช่น โรคสมาธิสั้น (ADHD) พ่อแม่อาจสังเกตสัญญาณของความผิดปกติจากการที่เด็กไม่สามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดได้นาน มีปัญหาในการพูด การอ่าน การเขียน การคำนวณ ส่งผลให้อาจมีทักษะในการเรียนรู้ด้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน ทั้งนี้ ความเอาใจใส่ของคนใกล้ชิดและการรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสมตั้งแต่เนิ่น ๆ อาจช่วยให้ผู้ป่วยเด็ก LD พัฒนาทักษะทางด้านต่าง ๆ ได้อย่างเต็มศักยภาพและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้เหมือนเด็กปกติ

อาการของเด็ก LD
กลุ่มอาการบกพร่องทางการเรียนรู้แบ่งเป็นหลายชนิดตามความบกพร่องทางทักษะด้านต่าง ๆ ส่งผลให้เด็ก LD แสดงอาการผิดปกติแตกต่างกันไป ดังนี้
1.ความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว (Dyspraxia) คือความบกพร่องของทักษะการเคลื่อนไหวและการประสานงานระหว่างสมองกับอวัยวะเป้าหมาย เด็กอาจใช้งานช้อนส้อมหรือดินสอลำบาก ผูกเชือกรองเท้าด้วยตนเองไม่ได้ พูดติดขัด เคลื่อนไหวลูกตาลำบาก ร่างกายไวต่อแสง การสัมผัส รสชาติ หรือกลิ่น เป็นต้น
ความบกพร่องด้านการเขียน (Dysgraphia) อาจมีปัญหาด้านการเขียนหนังสือ การสะกดคำ และไม่สามารถคิดและเขียนไปพร้อมกันได้
3.ความบกพร่องด้านการใช้ภาษา (Dyslexia) คือความบกพร่องของทักษะการตีความภาษา ส่งผลให้มีปัญหาในการอ่านหรือการเขียน เด็กอาจอ่านหนังสือไม่ได้หรืออ่านได้ช้า จับใจความเรื่องที่อ่านไม่ได้ หรือไม่สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเขียนหรือการพูด
4.ความบกพร่องด้านการฟัง เด็กได้ยินเสียงเป็นปกติแต่ไม่สามารถตีความได้ ส่งผลให้อาจมีปัญหาในการอ่าน แยกแยะเสียงไม่ได้ จดจำคำพูดไม่ได้ หรือไม่ปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ยิน
อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองหรือคนใกล้ชิดที่พบว่าบุตรหลานมีสัญญาณของความบกพร่องทางการเรียนรู้ต่อไปนี้
- มีปัญหาในการจดจำข้อมูล การอ่าน การเขียน การคำนวณ และทำการบ้านเองไม่ได้ ผู้ปกครองต้องช่วยทำทุกครั้ง
- เข้าใจความคิดที่เป็นนามธรรมได้ยาก
- ม่ใส่ใจรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ทว่าบางรายอาจช่างสังเกตและให้ความสนใจต่อสิ่งต่าง ๆ มากเกินไปได้เช่นกัน
- ขาดทักษะการเข้าสังคม
- ไม่เข้าใจและไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำหรือคำสั่งสอน
- อวัยวะต่าง ๆ เคลื่อนไหวไม่ประสานงานกัน ทำให้อาจมีปัญหาในการเดิน เล่นกีฬา จับดินสอ หรือใช้ช้อนส้อม
-ไม่เข้าใจแบบแผนของเวลา
- ทำของใช้ส่วนตัวหายเป็นประจำ
- แสดงพฤติกรรมต่อต้านหรือมีอารมณ์ก้าวร้าวที่โรงเรียน
-ไม่อยากไปโรงเรียน ไม่ยอมทำการบ้านหรือกิจกรรมที่ต้องใช้ทักษะบางประการ เช่น การอ่าน การเขียน การคำนวณ เป็นต้น
สอบถามปรึกษา โทร 085 2574183 คุณอัญชลี
สอบถามก่อนสั่งซื้อคลิ๊ก
คำยืนยันจากคุณพ่อคุณแม่ที่เลือก อเลอไทด์ให้ลูกทาน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น